Register
Login
หน้าแรก
เกี่ยวกับ TVET
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์และวัตถุประสงค์
เป้าหมายและแนวคิดในการพัฒนา
ยุทธศาสตร์
ภารกิจ
ศูนย์ TVET
ภาคตะวันออก
ชายแดนภาคใต้
ภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนือ
ภาคใต้
ข่าวประชาสัมพันธ์
เอกสารเผยแพร่
ติดต่อ TVET
รายงาน
ฝ่ายข้อมูลกลาง
ข้อมูลหลักสูตรที่สถานศึกษาเปิดรายปีการศึกษา
ข้อมูลบุคลากรรัฐ
ข้อมูลบุคลากรเอกชน
ข้อมูลบุคคลผู้สำเร็จการศึกษา
ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
ข้อมูลผู้จบหลักสูตรระยะสั้น
ฝ่ายส่งเสริมสมรรถนะผู้เรียนสู่มาตรฐานอาชีพ
สาขาวิชาที่เปิดรายปีการศึกษา
ทักษะที่เพิ่มให้กับผู้เรียน
ผลประเมินสถานศึกษา
การทดสอบสมรรถนะวิชาชีพ
ฝ่ายส่งเสริมและระดมทรัพยากรและความร่วมมือ
ทะเบียนครูพิเศษอาชีวศึกษาอุตสาหกรรม 4.0 & 10 อุตสาหกรรมใน EEC
การใช้ทรัพยากร
ฝ่ายจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับการมีงานทำ
การส่งเสริมให้มีรายได้ระหว่างเรียน
ข้อมูลภาวะการมีงานทำของผู้สำเร็จการศึกษา
การส่งเสริมให้เป็นผู้ประกอบการที่ใช้นวัตกรรม
ฝ่ายวิจัยและพัฒนา
ขับเคลื่อนสิ่งประดิษฐ์นวัตกรรมอาชีวศึกษาเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม
ผลงานสิ่งประดิษฐ์ (สำนักวิจัย)
ฝ่ายประสานงานและสร้างการรับรู้
การประสานงาน
การสร้างการรับรู้
เกี่ยวกับ TVET
/
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 จัดการอาชีวศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
กลยุทธ์ 1 เสริมสร้างคุณลักษณะผู้เรียนให้มีความรู้
ทักษะ นิสัยอุตสาหกรรม ภาษา ICT เทคโนโลยีและนวัตกรรม คุณธรรม จริยธรรม อัตลักษณ์ไทย และความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ที่สอดคล้องกับการประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิตในพื้นที่แต่ละภูมิภาค
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ผลิตและพัฒนากำลังคนระดับอาชีวศึกษา การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ
กลยุทธ์ 1 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูต
รที่สอดคล้องกับ Super Cluster, Cluster, New Engine of Growth เน้นหลักสูตรเชิงเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลดการจัดหลักสูตรที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ
กลยุทธ์ 2 ยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน
นำนวัตกรรมการสอนใหม่ๆ มาปรับใช้ เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติ เชื่อมโยงองค์ความรู้ใหม่เข้าสู่ห้องเรียน และใช้มาตรฐานอาชีพเป็นกลไกในการควบคุม คุณภาพผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีวศึกษาในแต่ละอาชีพและกลุ่มอาชีพ
กลยุทธ์ 3 เพิ่มหลักสูตร
ฝึกอบรมที่เป็นทักษะเฉพาะทาง (Intensive Short Course Training Program) แก้ไขปัญหาขาดแคลนบุคลากรสาขาเฉพาะทาง
กลยุทธ์ 4 เพิ่มและขยาย
การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสาขาเป้าหมาย
กลยุทธ์ 5 จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ
และศูนย์พัฒนาทักษะเฉพาะทาง ร่วมกับสถานประกอบการ และจัดหาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาชีพขั้นสูง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านอาชีวศึกษาทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
กลยุทธ์ 1 เตรียมความพร้อม
ด้านอาชีพให้กับกลุ่มคนในพื้นที่แต่ละภูมิภาค ทุกช่วงวัย
กลยุทธ์ 2 ต่อยอดทักษะ
กำลังคนในสถานประกอบการ (Re-skill) ให้มีทักษะอาชีพสอดคล้องกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม 4.0
กลยุทธ์ 3 แก้ไขปัญหาความขาดแคลนค
รูอย่างเร่งด่วน และยกระดับคุณภาพครู ครูฝึกในสถานประกอบการ ให้เป็นครู 4.0 สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่แต่ละภูมิภา
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันด้านอาชีวศึกษา
กลยุทธ์ 1 สร้างแรงบันดาลใจ
ด้านการเรียนอาชีวศึกษาเพื่อจูงใจให้นักเรียนเข้าเรียนอาชีวศึกษาให้เพิ่มมากขึ้น เพียงพอต่อความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่แต่ละภูมิภาค
กลยุทธ์ 2 ส่งเสริมนิสัยการทำงา
นควบคู่กับการเรียน ส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียน และประกันการมีงานทำของผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีวศึกษาในพื้นที่แต่ละภูมิภาค
กลยุทธ์ 3 จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักศึกษา
สิ่งอำนวยความสะดวก นักศึกษาทวิภาคีต่างพื้นที่ เข้าฝึกประสบการณ์อาชีพ ในสถานประกอบการ รวมทั้งการส่งเสริมการมีงานทำในพื้นที่แต่ละภูมิภาค
กลยุทธ์ 4 สนับสนุนทุน
การศึกษาสำหรับกลุ่มผู้ด้อยโอกาสเข้าสู่ระบบอาชีวศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสอน การแนะนำทั้งในและนอกระบบการศึกษาเพื่อสร้างการเติบโตของคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 1 สร้างนิสัยผู้สำเร็จการศึกษาสายอาชีวศึก
ษาในด้านการใช้ทรัพยากร ความปลอดภัยในการทำงาน จรรยาบรรณอาชีพ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้บริโภค และการทำงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การขับเคลื่อนธุรกิจ เศรษฐกิจประเทศด้วยงานวิจัยทุกระดับ เพื่อการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
กลยุทธ์ 1 สร้างนิสัยผู้สำเร็จการศึกษา
สายอาชีวศึกษาในด้านการใช้ทรัพยากร ความปลอดภัยในการทำงาน จรรยาบรรณอาชีพ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้บริโภค และการทำงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 2 ให้มีความพร้อมด้านทรัพยากรใ
ห้กับสถานศึกษา ให้เป็นสถานศึกษา 4.0 และ Digital College รองรับการพัฒนาในพื้นที่แต่ละภูมิภาค
กลยุทธ์ 3 ปรับระบบฐานข้อมูลด้าน Demand และ Supply
โดยใช้กลไกประชารัฐเพื่อวางแผน การจัดอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการในเชิงปริมาณและคุณภาพ
กลยุทธ์ 4 ในประเทศและต่างประเทศ
เพื่อเสริมศักยภาพสถาปรับระบบความร่วมมืออาชีวศึกษาทั้งภายนศึกษาเข้าสู่มาตรฐานสากล อาทิ เยอรมัน ญี่ปุ่น ออสเตรีย จีน ฯลฯ ให้สอดคล้องกับการลงทุน จากต่างประเทศ สถานศึกษา และขยายการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
กลยุทธ์ 5 สนับสนุนสถานศึกษาอาชีวศึกษา
ทำงานร่วมกับนิคมอุตสาหกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม ชุมชนอุตสาหกรรม สถานประกอบการ และหน่วยงานอย่างใกล้ชิดเพื่อผลิตกำลังคน ที่ตรงกับความต้องการ
กลยุทธ์ 6 ปรับบทบาทอาชีวศึกษาเป็นหน่วยงานตาม
โครงสร้างเพื่อเป็นศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาให้บริการสถานประกอบการในแต่ละจังหวัด
กลยุทธ์ 7 จัดตั้งศูนย์ประสานงานการผลิต
และพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา เพื่อเป็นศูนย์อำนวย ความสะดวกด้านกำลังคน รองรับการปฏิบัติการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
กลยุทธ์ 8 การบริหารสถานศึกษา ให้มีความยืดหยุ่น สนับสนุนการผลิตและพัฒนากำลังคนในภาคการผลิตและบริการ กระจายอำนาจการจัดอาชีวศึกษาสู่พื้นที่ให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการ
กลยุทธ์ 9 ปรับระบบการจ่ายค่าตอบแทน
เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางมาถ่ายทอด องค์ความรู้ใหม่ๆ
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์และวัตถุประสงค์
เป้าหมายและแนวคิดในการพัฒนา
ยุทธศาสตร์
ภารกิจ